วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ศาสนาบ่ทันฮ่าง



พี่น้องเอ้ย..ศาสนาบ่ทันฮ่าง.......ยังมีทางให้เดินเบิ่ง
บ่ทันเถิงขวบก้ำ........... ....บ่มีฮ่างมุ่นพัง
หากพระธรรมยังตั้ง........ ..ในใจแห่งสาธุชน
ศาสนากะยังทน............. .บ่อ่อนแอลงได้
หากแต่ใจคนสิฮ่าง......... .ห่างคำเพิ่นสอนสั่ง
ศาสนาสิบ่ตั้ง.......... ....ยืนมั่นสิมุ่นเพ..... .ท่อนั้นแหล่ว

ผญาธรรมดีๆ



ธรรมะ       - สูงเลิศล้ำ          ให้ทำแน่  ทางดี
            จารึก          - มีในใจ              ใฝ่แสวงหาไว้
            สุขัง           - มีมาได้              กะย้อนใจพร้อมพรำ
            สติ            - นำสู่ให้              เป็นได้ดังจา
            ผู้ใด๋           - ใจแก่กล้า           อยากลาห่างหนีกรรม
            ประพฤติธรรม   - ทางดี         สิห่างหนีกรรมฮ้อน
            ย่อมอยู่       - สุขาข่อน         อายุขัยในโลก
            เป็นสุข       - หายโศกฮ้อน     คือด้ามดังจา

ผญาเก่า


                 ผญาเก่า
ชื่อโลกีย์กว้าง            เมืองคนมันบ่เที่ยง
มันหากเหงี่ยงซ้อยม้อย  คือค้อยตะฝั่งของ
ลางเทื่อศิษย์กลับได้ เป็นครูสอนสั่ง ก็มีตาย
ลางเทื่อลูกออกก้น        สอนส่อพ่อแม่คิง
ลางเทื่อแนวเด็กน้อย     สอนคนหัวด่อน
ลางเทื่อลูกไพร่บ้าน สอนท้าวบ่าวพระยา ก็มีเด้

พระคาถาธารณปริตร



พระคาถาธารณปริตร

๑.                     พุทธานัง     ชีวิตัสเสวะ                     อันตะราโย   นะ  เกนะจิ 
                        กาตุง  กุทาจะนัง  สักกา                    ตะถา  เม  โหตุ   ชีวิตัง     
                        นะโม  เม  สาธุ  ธัมเมหิ                     อัฏฐาระสะหิ   สัพพะทา
                        สัมปะยุตตัสสะ  พุทธัสสะ                  สิระสา   ตัง   นะมามิหัง
๒.                     ยัง  กายะทุจจะริตตัญจะ                  ตะถาคะตัสสะ  นัตถิ  ตัง
                        ยัง  วะจีทุจจะริตตัญจะ                     ตะถาคะตัสสะ  นัตถิ   ตัง
                        ยัง  มะโนทุจจะริตตัญจะ                   ตะถาคะตัสสะ  นัตถิ   ตัง
๓.                     นัตถิ  ปะฏิหะตัญญาณัง                  อะตีตัญจะ   ชินัสสะ   เส
                        นัตถิ  ปะฏิหะตัญญาณัง                   อะนาคะตัง   ชินัสสะ   จะ
                        นัตถิ  ปะฏิหะตัญญาณัง                   ปัจจุปปันนัง   ชินัสสะ  จะ
๔.                     พุทธัสสะ กายะกัมมันยัง                   อัญญาณัปปะมุขัญจะ  เส
                        อัญญาณะอะนุวัตตัญจะ                   สัพพังสะ  นัตถิ  สัพพะทา          
                        พุทธัสสะ ยัง  วะจีกัมมัง                     อัญญาณัปปะมุขัญจะ  เส
                        อัญญาณะอะนุวัตตัญจะ                   สัพพังสะ  นัตถิ  สัพพะทา          
                        พุทธัสสะ ยัง  มะโนกัมมัง                   อัญญาณัปปะมุขัญจะ  เส
                        อัญญาณะอะนุวัตตัญจะ                    สัพพังสะ  นัตถิ  สัพพะทา
๕.                     ชินัสสะ  ฉะหิ   ธัมเมหิ                       สะมัปปิตัสสะ   สัพพะทา
                        นัตถิ  หานิ  จะ ฉันทัสสะ                    ธัมมัปปะกาสะนายะ  จะ
                        นัตถิ     วิริยะหานิ   จะ                       วิปัสสะนายะ  หานิ  จะ
                        นัตถิ   หานิ  สะมาธิสสะ                     นัตถิ   หานิ   วิมุตติยา
๖.                     ทะวาทะสะหิ    ธัมเมหิ                       ปะยุตตัสสะ  ชินัสสะ เส 
                        ทะวา  เจวะ  ระวา  นัตถิ                     อัปผุฏฏันตัสสะ นัตถิ  จะ
                        นัตถิ   เวคายิตัตตัญจะ                       พะยาวะฏะมะโน   อะโถ
                        นัตถิ     อัปปะฏิสังขารุ-                       เปกขา
  มะหามุนิสสะ จะ
                                       เตชาธิกัง   หิ   อะมิตัง   อะสะมัง   วิสิฏฐัง                     
                                       สังสาระทุกขะภะยะภีรุกะปาณินันตัง                 
                                       ตาณัตถิ    ธาระณะปะริตตะมิเธวะ  เลณัง

                                       โหตัง  นะโม  มะมะ  ชินานะ  จะ โพธิยา  จะ  

                                       โหตัง  นะโม   มะมะ   วิมุตตะวิมุตติยา   จะ

                                       พุทโธ  หิ  มาระชิ  จะ  โหติ  อะยัปปะมาโณ      

                                       ธัมโม    หะเว    สุกะถิโต   อิมินัปปะมาโณ       

                                       สังโฆ  วะโร  ภะวะติ  ตัสสะ จะ อัปปะมาโณ
                                       สัจเจนะ  โสตถิ  มะมะ  โหตุ  สุขัญจะ นิจจัง      
                                       โลเก   จิรัมปิ   อิธะ   ฐาตุ   ชินัสสะ  ธัมโม

๘.                     สุปัณณา  ปะนะ  พรัหมาโน              คันธัพพา  จะ  มะหิทธิกา

                        อากาสัฏฐา  จะ  ภุมมัฏฐา                 เทวา   นาคา   มะหิทธิกา

                        จัตตาโร  โข   มะหาราชา                   โลกะปาลา   ยะสัสสิโน

                        สักกัจจัง     อะนุโมทันตุ                     ปะริตตัง   มะมะ  ภาสิตัง

                        สัพเพ  พุทธา  พะลัปปัตตา                ปัจเจกานัญจะ  ยัง  พะลัง       

เตเชนะ    อะระหันตานัง                   รักขัง  พันธามิ  สัพพะโสติ  

หมายเหตุ   ผู้สวดพระคาถาบทนี้ทำให้เทวดา และมนุษย์รักใคร่  ใช้ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง  แม้จะทำน้ำพุทธมนต์ก็ศักดิ์สิทธิ์เหลือประมาณ  ว่าทางสรรพคุณเกินจะบรรยายเพราะเป็นการกล่าวสรรเสริญพระคุณของพระพุทธเจ้า  ผู้สวดเป็นประจำทุกวันจะได้รับอานิสงส์น่าอัศจรรย์ทีเดียว